Life does not come with instructions on how to live, but it does come with trees, sunsets, smiles and laughter, so enjoy your day.

ชีวิตไม่ได้มาพร้อมกับคู่มือการใช้ชีวิต

แต่ชีวิตมาพร้อมกับต้นไม้, พระอาทิตย์ตก, รอยยิ้มและเสียงหัวเราะ 

―Debbie Shapiro

Ludwig Bingswanger

ลูดวิก บินสแวเกอร์ (Ludwig Binswanger)
existential psychology
ลูดวิก เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน 1881 ในครูซลินเจ้น, สวิตเซอร์แลนด์ (Kreuzlingen, Swiss) พ่อของเขาชื่อโรเบิร์ต (Robert Binswanger) ครอบครัวของเขาเป็นแพทย์มาหลายรุ่น ปู่ของเขาชื่อลูดวิก (Ludwig Binswanger) เป็นผู้ตั้งโรงพยาบาลจิตเวชเปลลูฟ์ (Sanatorium Bellevue ) ในปี 1857 
1907 ได้รับปริญญาเอกแพทย์ศาสตร์จากมหาวิทยาลัยซูริช (University of Zurich)  ระหว่างที่เรียนเขาได้มีโอกาสเรียนกับบลัวเลอร์ (Eugen Bleuler) และ คาร์ล จัง (Carl Jung) 
ลูวิคได้เข้าเป็นสมาชิกของฟรอยด์กรุ๊ป (Freud Group) ซึ่งจังเป็นประธาน สมาชิกในกลุ่มนี้ต่างสนใจแนวคิดของซิกมนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ร่วมกัน และด้วยการแนะนำของจังทำให้ไม่นานลูดวิกได้รู้จักกับฟรอยด์ ในปีนี้ลูดวิกได้รู้จักกับฟรอยด์ ซึ่งพวกเขากลายเป็นเพื่อนกันยาวนานจนกระทั้งฟรอยด์เสียชีวิต
1908 แต่งงานกับเฮอร์ธ่า (Hertha Buchenberger)
1910 พ่อของเขาเสียชีวิต ลูวิคจึงกลับมาทำงานเป็นหมอและผู้อำนวยการของโรงพยาบาลเปลลูฟ์ เขาทำงานอยู่ที่นี่ตลอดจนกระทั้งเกษียณตัวเองในปี 1956
1912 ล้มป่วย
1919 ร่วมก่อตั้งสมาคมนักจิตวิเคราะห์สวิส (Swiss Society for Psychoanalysis)
1921 Psychoanalysis and clinical Psychiatry
1922 พิมพ์ผลงาน Introduction of general psychology
1925 ได้รับตำแหน่งประธานของสมาคมจิตเวชสวิส จนกระทั้งปี 1928
1936 ในโอกาสครบรอบอายุ ปีที่  80 ของฟรอยด์ ลูดวิกได้จัดเลคเชอร์ให้กับสมาคม Academic Association of Medical Psychology ในหัวข้อ “Freud’s conception of man in the light of anthropology”
1938 1939 ฟรอยด์เสียชีวิต
1942 ผลงาน Grundformen und Erkenntnis menschlichen Daseins (Basic Forms and the Realization of Human “Being-in-the-World”)
1944 ลูดวิก เขียนรายงานหนึ่งเกี่ยวกับอาการของคนไข้ของเขา ชื่อ เอลเลน เวสต์ (Ellen West) ที่เขาใช้แนวคิดของ Existential Analysis (Daseinanalyse) ในการวิเคราะห์โรค เอลเลน เข้ารักการรักษาตัวในโรงพยาบาลกว่า 13 ปี เพราะว่าเธอเป็นโรคอ้วน ก่อนหน้านั้นเธอพยายามกินยาเพื่อลดน้ำหนักแต่ไม่ได้ผล  ลุดวิกบันทึกเอาไว้ว่าวันหนึ่งๆ เอลเลนกินมะเขือเทศและส้มหลาปอนด์แต่ว่าไม่กินเนื้อ  เธอเกิดความรู้สึกผิดเวลาที่รับประทานอาหาร และมีความต้องการที่จะฆ่าตัวตาย ลุดวิกวิเคราะห์ว่าเธอเป็นโรค bulimia nervosa (อาการผิดปกติในการกิน ที่ต้องรับประทานอาหารปริมาณมากๆ หลังจากนั้นจะพยายามอาเจียรหรือทานยาเพื่อเอาอาหารออกมา ) ซึ่งเขาเห็นว่าไม่ใช่อาการที่รักษาได้ด้วยจิตเวช ลุดวิกอนุญาตให้เอลเลนออกจากโรงพยาบาลเพราะเห็นว่ารักษาไม่ได้ ซึ่งเขาก็คาดการไว้อยู่แล้วว่าเธอจะฆ่าตัวตาย หลังจากออกจากโรงพยาบาลแล้วอีก 3 วัน เอลเลนเสียชีวิตเพราะกินยาเกินขนาด , กรณีของเอลเลน เป็นที่ถกเถียงเกี่ยวกับบทบาทและจรรยาบรรณของจิตเวช ว่าได้ทำหน้าที่ในการรักษาหรือว่าเป็นพียงตรวจดูอาการของคนไข้เพื่อแสวงหาความรู้ และสิ่งที่ลูดวิกทำเป็นกาช่วยเธอในการฆ่าตัวตายหรือไม่
1956 เกษียรจากงานที่โรงพยาบาลและได้ให้ลูกชาย (Wolfgang Binswanger) รับหน้าที่บริหารต่อ
ได้รับรางวัล Golden Kraepelin Medal
1966 5 กุมภาพันธ์ เสียชีวิตในครูซลินเจ้น ในวัย 84 ปี
งานเขียน
  • 1907: Über das Verhalten des psychogalvanischen Phänomens beim Assoziationsexperiment. Diagnostische Assoziationsstudien. (On the behavior of the psycho-galvanic phenomenon in association experiments. Diagnostic association studies).
  • 1910: Über Entstehung und Verhütung geistiger Störungen. (Origin and prevention of mental disorders).
  • 1922: Einführung in die Probleme der allgemeinen Psychologie (Introduction to the problems of general psychology)
  • 1928: Wandlungen in der Auffassung und Deutung des Traumes (Transformations in the view and interpretation of the dream)
  • 1930: Traum und Existenz (Dream and existence).
  • 1932: Zur Geschichte der Heilanstalt Bellevue. Kreuzlingen 1857–1932 (The history of the Bellevue sanatorium. Kreuzlingen, from 1857 to 1932.
  • 1933: Über Ideenflucht (On “idea escape”)
  • 1936: Freuds Auffassung des Menschen im Lichte der Anthropologie. Erweiterter Festvortrag gehalten zur Feier des 80. Geburtstags von Sigmund Freud im Akad. Verein für medizin. Psychologie. (Freud’s conception of man in the light of anthropology. Extended lecture held to celebrate the 80th Birthday of Sigmund Freud in the Academic Association for Medicine)
  • 1942: Grundformen und Erkenntnis menschlichen Daseins (Basic forms and realization of human existence), Zurich (3rd édition, Munich/Basle, 1962)
  • 1946: Über Sprache und Denken (On language and thinking)
  • 1947: Ausgewählte Aufsätze und Vorträge, Bd. 1: Zur phänomenologischen Anthropologie (Selected essays and lectures, Volume 1: To phenomenological anthropology)
  • 1949: Henrik Ibsen und das Problem der Selbstrealisation in der Kunst (Henrik Ibsen and the problem of self realization in art)
  • 1949: Die Bedeutung der Daseinsanalytik Martin Heideggers für das Selbstverständnis der Psychiatrie (The importance of Martin Heidegger’s analysis of Dasein for the self-understanding of psychiatry)
  • 1954: Über Martin Heidegger und die Psychiatrie. Festschrift zur Feier des 350jährigen Bestehens des Heinrich-Suso-Gymnasium zu Konstanz (Martin Heidegger and psychiatry. Festschrift to celebrate the 350th anniversary of Heinrich Suso-Gymnasium in Konstanz)
  • 1955: Ausgewählte Vorträge und Aufsätze, Bd. II: Zur Problematik der psychiatrischen Forschung und zum Problem der Psychiatrie (Selected lectures and essays, Volume II: On the problem of psychiatric research and the problem of psychiatry)
  • 1956: Erinnerungen an Sigmund Freud (Memories of Sigmund Freud)
  • 1956: Drei Formen missglückten Daseins: Verstiegenheit, Verschrobenheit, Manieriertheit (Three forms of failed existence)
  • 1957: Schizophrenie (Schizophrenia)
  • 1957: Der Mensch in der Psychiatrie (Man in psychiatry), 
  • 1960: Melancholie und Manie: Phänomenologische Studien (Melancholy and mania: Phenomenological studies), 
  • 1961: Geleitwort zu Hans Häfners “Psychopathien”. Monographien aus dem Gesamtgebiet der Neurologie und Psychiatrie. (Foreword to Hans Häfner’s “Psychopathic”. Monographs from the entire field of neurology and psychiatry), 
  • 1962: Der Musische Mensch. Vorwort zu “Musische Erziehung” (Man in arts. Preface to “Education in arts”)

1965: Wahn. Beiträge zu seiner phänomenologischen und daseinsanalytischen Erforschung (Delusion. Contributions to phenomenological and analytical investigations)
Don`t copy text!