Happiness held is the seed.

Happiness shared is the flower.

ความสุขที่เก็บเอาไว้คือเมล็ด

ความสุขที่แบ่งปันคือดอกไม้ 

John Harrigan

Tag: Mind

  • The Availability Heuristic

    We aren’t good at estimating frequency, so we base it how available things are to our mind พวกเราไม่ได้มีความสามารถดีขนาดนั้นประมาณความถี่, พวกเราแค่อาศัยสิ่งที่โผล่ขึ้นมาในหัวขณะนั้นในการตัดสิน The Availability Heuristic (การหยิบความคิดที่โผล่ขึ้นมาในแว๊บแรกในการตัดสินใจ) เทอมศัพท์ถูกนิยามขึ้นในปี 1973 โดยนักจิตวิทยารางวัลโนเบล 2 ท่าน คือ เดเนียล คาห์เนมัน (Daniel Kahneman) และเอมอส ทเวอร์สกี้ (Amos Tversky)  ซึ่งได้เขียนไว้ในรายงานวิจัยเรื่อง “heuristic and biases (การดึงความทรงจำและทัศนะคติที่เอนเอียง)”  พวกเขาบอกว่า Availability Heuristic เป็นเส้นทางลัด (short cut) ของความนึกคิด เกิดขึ้นในจิตใต้สำนึกโดยที่พวกคุณไม่รู้ตัว อาศัยหลักการที่ว่า  “ คุณนึกถึงสิ่งใดตอนนั้น, สิ่งนั้นก็มีความสำคัญ /…

  • Philip Zimbardo

    ฟิลิป ซิมบาร์โด (Philip George Zimbardo)  Stanford prison experiment, ผู้เขียน The Lucifer Effect ซิมบาร์โด เกิดวันที่ 23 มีนาคม 1933 ในนิวยอร์ค ซิตี้  ครอบครัวของเขาอพยพมาจากเกาะซิซิลีในอิตาลี 1945 จบปริญญาตรี โดยเอกในสามสาขาวิชา ได้แก่ สังคมศาสตร์, จิตวิทยา และมนุษยศาสตร์จากบรู๊คลินคอลเลจ (Brooklyn College) ด้วยเกียรตินิยมเหรียญทอง 1955 จบปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยเยล (Yale University) 1959 จบปริญญาเอกจาก ม.เยล  ซึ่งหลังจากเรียนจบเขาได้ทำงานสอนหนังสือที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้ 1960 ย้ายมาทำงานสอนหนังสือที่มหาวิทยาลัยศิลปะและวิทยาศาสตร์นิวยอร์ค (New York University College of Arts & Science)  1967 มาสอนหนังสือที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University)  1968 ย้ายมาสอนที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford…

  • Lawrence Kohlberg

    ลอว์เรนซ์ โคห์ลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg)  Theory of “Stage of Moral Development” โคห์ลเบิร์ก เกิดวันที่ 25 ตุลาคม 1927 ในบรอนซ์วิลล์, นิวยอร์ค (Brownsville,New York)  ในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย พ่อของเขาชื่ออัลเฟรด (Alfred Kohlberg) เป็นชาวเยอรมันเชื้อสายยิว เขาทำธุรกิจค้าผ้าไหม และแม่ชื่อชาร์ล็อตต์ (Charlotte Albrecht) แม่เป็นภรรยาคนที่สองของพ่อ เธอเป็นนักเคมี พวกเขามีลูกด้วยกันสี่คนโดยที่โคห์ลเบิร์กเป็นลูกคนสุดท้อง พ่อและแม่ของเขาแยกกันอยู่ตั้งแต่โคห์ลเบิร์กอายุ 4 ขวบ และเมื่อเขาอายุ 14 ปีพ่อกับแม่ก็หย่าขาดจากกัน โดยระหว่างนี้โคห์ลเบิร์กและพี่น้องจะสลับกันไปอยู่ที่บ้านของพ่อหรือแม่ครั้งละหกเดือน 1933 เข้าเรียนระดับมัธยมที่สถาบันฟิลิปส์ (Philips Academy) ในแอนโดเวอร์, แมสซาซูเซตส์ 1945 จบจากสถาบันฟิลิปส์ พอดีกับเป็นช่วงปลายสงครามโลก ครั้งที่ 2 เขาได้เข้าทำงานกับ Merchant Marine ซึ่งเป็นกองเรือรัฐวิสาหกิจของสหรัฐฯ ที่ลำเลียงทั้งพลเรือนและยุทธภัณฑ์ โดยที่โคห์ลเบิร์กทำงานร่วมกับฮาเกนาห์…

  • Lawrence Kohlberg

    ลอว์เรนซ์ โคห์ลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg)  Theory of “Stage of Moral Development” โคห์ลเบิร์ก เกิดวันที่ 25 ตุลาคม 1927 ในบรอนซ์วิลล์, นิวยอร์ค (Brownsville,New York)  ในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย พ่อของเขาชื่ออัลเฟรด (Alfred Kohlberg) เป็นชาวเยอรมันเชื้อสายยิว เขาทำธุรกิจค้าผ้าไหม และแม่ชื่อชาร์ล็อตต์ (Charlotte Albrecht) แม่เป็นภรรยาคนที่สองของพ่อ เธอเป็นนักเคมี พวกเขามีลูกด้วยกันสี่คนโดยที่โคห์ลเบิร์กเป็นลูกคนสุดท้อง พ่อและแม่ของเขาแยกกันอยู่ตั้งแต่โคห์ลเบิร์กอายุ 4 ขวบ และเมื่อเขาอายุ 14 ปีพ่อกับแม่ก็หย่าขาดจากกัน โดยระหว่างนี้โคห์ลเบิร์กและพี่น้องจะสลับกันไปอยู่ที่บ้านของพ่อหรือแม่ครั้งละหกเดือน 1933 เข้าเรียนระดับมัธยมที่สถาบันฟิลิปส์ (Philips Academy) ในแอนโดเวอร์, แมสซาซูเซตส์ 1945 จบจากสถาบันฟิลิปส์ พอดีกับเป็นช่วงปลายสงครามโลก ครั้งที่ 2 เขาได้เข้าทำงานกับ Merchant Marine ซึ่งเป็นกองเรือรัฐวิสาหกิจของสหรัฐฯ ที่ลำเลียงทั้งพลเรือนและยุทธภัณฑ์ โดยที่โคห์ลเบิร์กทำงานร่วมกับฮาเกนาห์…

  • John R. Anderson

    จอห์น แอนเดอร์สัน (John Robert Anderson)  ผู้สร้าง ACT-R (cognitive architecture) แอนเดอร์สัน เกิดในปี 1947 ในแวนคูเวอร์, บริติช โคลัมเบีย (Vancouver, British Columbia)  1968 จบปริญญาตรีด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์จากบริติชโคลัมเบีย (University of British Columbia) หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อที่สแตนฟอร์ด (Stanford University) ได้โดยมีโอกาสร่วมทำงานวิจัยกับโบเวอร์ (Gordon Bower) ซึ่งระหว่างที่เรียนที่นี่เขามีความใฝ่ฝันในการสร้างจิตของมนุษย์ (human cognition) ขึ้นมาโดยมีความเชื่อว่าสามารถที่จะจำลองจิตขึ้นมาในคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งในระยะแรกเขาได้สร้างพัฒนาแบบจำลอง FRAN simulation of free recall และต่อมาพัฒนาเป็น HAM theory of memory 1972 จบปริญญาเอกด้านจิตวิทยาจากสแตนฟอร์ด หลังจากนั้นได้ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่เยล (Yale University)  1973 ย้ายมาทำงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน (University of Michigan) …

  • John R. Anderson

    จอห์น แอนเดอร์สัน (John Robert Anderson)  ผู้สร้าง ACT-R (cognitive architecture) แอนเดอร์สัน เกิดในปี 1947 ในแวนคูเวอร์, บริติช โคลัมเบีย (Vancouver, British Columbia)  1968 จบปริญญาตรีด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์จากบริติชโคลัมเบีย (University of British Columbia) หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อที่สแตนฟอร์ด (Stanford University) ได้โดยมีโอกาสร่วมทำงานวิจัยกับโบเวอร์ (Gordon Bower) ซึ่งระหว่างที่เรียนที่นี่เขามีความใฝ่ฝันในการสร้างจิตของมนุษย์ (human cognition) ขึ้นมาโดยมีความเชื่อว่าสามารถที่จะจำลองจิตขึ้นมาในคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งในระยะแรกเขาได้สร้างพัฒนาแบบจำลอง FRAN simulation of free recall และต่อมาพัฒนาเป็น HAM theory of memory 1972 จบปริญญาเอกด้านจิตวิทยาจากสแตนฟอร์ด หลังจากนั้นได้ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่เยล (Yale University)  1973 ย้ายมาทำงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน (University of Michigan) …

  • Edward Adelson

    เอ็ดเวิร์ด อเดลสัน (Edward H. Adelson) Adelson’s checker board illusion เกิดในปี 1952  1974 สำเร็จการศึกษาด้านฟิสิกส์และปรัชญาจากมหาวิทยาลัยเยล (Yale University) 1979 จบปริญญาเอกสาขาจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยมิชิแกน (University of Michigan) หลังจากนั้นได้รับทุนนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ค (New York University) 1981 มาทำงานที่ RCA Laboratories  1984 ได้รับรางวัล Adolph Lomb Medal 1987 มาทำงานที่ Media Lab ของเอ็มไอที (Massachusetts Institute of Technology) 1995 ได้ตำแหน่งศาสตราจารย์(John and Dorothy Wilson Professor of Vision Science) ที่เอ็มไอที เผยแพร่ภาพของ Check shadow…

  • Douglas Hofstadter

    ดักกราส ฮอฟสแตดเตอร์ (Douglas Richard Hofstadter) ผู้เขียน Gödel, Escher, Bach : An Eternal Golden Braid (Pulitzer Prize 1979) ดักกราส เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 1945 ในนิวยอร์ค ซิตี้, สหรัฐฯ​ พ่อของคือศาสตราจารย์โรเบิร์ต ฮอฟสแตดเตอร์ (Robert Hofstadter) นักฟิสิกส์รางวัลโนเบล ปี 1961 จากการศึกษาการกระจายของอิเล็กตรอน ส่วนแม่ชื่อว่าแนนซี่ (Nancy Givan Hofstadter) ดักกราสใช้ชีวิตวัยเด็กส่วนใหญ่อยู่ในเจนีวา, สวิสฯ 1958 เข้าเรียนที่โรงเรียนนานาชาติเจนีวา (International School of Geneva) 1959 เข้าเรียนที่สแตนฟอร์ด (Stanford University) ในสาขาคณิตศาสตร์ 1965 จบปริญญาตรี 1975 จบปริญญาเอกสาขาฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยโอเรกอน (University…

  • Allen Newell

    อัลเลน นีเวลล์ (Allen Newell) Turing Award 1975 นีเวลล์ เกิดวันที่ 19 มีนาคม 1927 ในซานฟรานซิสโก พ่อของเขาชื่อโรเบิร์ต (Robert R. Newell) เป็นศาสตราจารย์ด้านรังสีที่โรงเรียนแพทย์สแตนฟอร์ด (Standford Medical School) และแม่ชื่อเจียเน็ตต์ (Jeanette La Valley Newell) นีเวลล์เรียนระดับมัธยมที่โรงเรียนมัธยมโลเวลล์ (Lowell High School) ในซานฟรานซิสโก  1947 แต่งงานกับโนเอล แม็คเคนน่า (Noël McKenna) พวกเขามีลูกด้วยกันชื่อพอล (Paul) 1949 นีเวลล์ จบปริญญาตรีทางด้านฟิสิกจากสแตนฟอร์ด (Stanford University)  หลังจากนั้นเข้าเรียนต่อปริญญาเอกที่พริ้นตั้น (Princeton University) ด้านคณิตศาสตร์ โดยระหว่างที่เรียนเขาทำงานเป็นผู้ช่วยของออสการ์ มอร์เจนสเติร์น (Oskar Morgenstern) ผู้ร่วมเขียน The Theory of…

  • Allen Newell

    อัลเลน นีเวลล์ (Allen Newell) Turing Award 1975 นีเวลล์ เกิดวันที่ 19 มีนาคม 1927 ในซานฟรานซิสโก พ่อของเขาชื่อโรเบิร์ต (Robert R. Newell) เป็นศาสตราจารย์ด้านรังสีที่โรงเรียนแพทย์สแตนฟอร์ด (Standford Medical School) และแม่ชื่อเจียเน็ตต์ (Jeanette La Valley Newell) นีเวลล์เรียนระดับมัธยมที่โรงเรียนมัธยมโลเวลล์ (Lowell High School) ในซานฟรานซิสโก  1947 แต่งงานกับโนเอล แม็คเคนน่า (Noël McKenna) พวกเขามีลูกด้วยกันชื่อพอล (Paul) 1949 นีเวลล์ จบปริญญาตรีทางด้านฟิสิกจากสแตนฟอร์ด (Stanford University)  หลังจากนั้นเข้าเรียนต่อปริญญาเอกที่พริ้นตั้น (Princeton University) ด้านคณิตศาสตร์ โดยระหว่างที่เรียนเขาทำงานเป็นผู้ช่วยของออสการ์ มอร์เจนสเติร์น (Oskar Morgenstern) ผู้ร่วมเขียน The Theory of…

  • Jill Price

    จิลล์ ไพรซ์ (Jill Price) ผู้ป่วยคนแรกในสหรัฐฯ ที่ถูกวินิจฉัยว่ามีอาการ “hyperthymesia” ไพรซ์ เกิดวันที่ 30 ธันวาคม 1965  ในนิวยอร์ก ซิตี้ (NewYork City) ครอบครัวมีเชื้อสายยิว พ่อของเธอชื่อเลนนี่ (Lenny) มีอาชีพเป็นนักสืบ และแม่ชื่อรอซ (Roz) เป็นแดนเซอร์ให้กับคณะมิตช์ มิลเลอร์ (Mitch Miller Show)  1974 เมื่อไพรซ์อายุ 8 ขวบ เธอเร่ิมรู้ตัวว่าความจำของเธอเองแปลกกว่าคนอื่น คือเธอสามารถจดจำเหตุการณ์ในแต่ละวันได้อย่างละเอียดวันแต่วันเกือบจะสมบูรณ์ คล้ายมันเป็นภาพยนต์ที่ถูกบันทึกไว้ในหัวของเธอ  2000 ไพรซ์ติดต่อกับ ดร.เจมส์ (James McGaugh) นักวิจัยด้านสมองของมหาวิทยาลัยแคริฟอร์เนีย (University of California at Irvine)  เพื่อของคำปรึกษาเกี่ยวกับความแปลกประหลาดเกี่ยวกับความทรงจำของเธอ โดยระหว่างที่เธอถูกศึกษาโดยนักวิจัยนั้น พวกเขารู้จักไพรซ์กันในชื่อว่า AJ 2008 ไพรซ์เขียนหนังสือ The Woman Who Can’t…

  • John Searle

    จอห์น เซียร์เล่อ (John Rogers Searle)  Chinese room argument เชียร์เล่อ เกิดวันที่ 31 กรกฏาคม 1932 ในเดนเวอร์, โคโลราโด้ (Denver, Colorado) พ่อเขาชื่อ จี. เซียร์ล (G. W. Searle) เป็นวิศวกร ทำงานกับ AT&T และแม่ชื่อเฮสเตอร์ (Hester Beck Searle)  1949 เข้าเรียนปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน (University of Wisconsin)  ทางด้านรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และปรัชญา 1952 ได้รับทุน Rhodes จึงย้ายมาเรียนที่อ๊อกฟอร์ด (Oxford)  1959 จบปริญญาเอกจากอ๊อกฟอร์ด และได้ตำแหน่งศาสตราจารย์ย์ที่เบิร์กเลย์ (University of California, Berkeley)  1980 เขียนบทความ “Minds, Brains, and Programs”…

Don`t copy text!