Cold fusion: reality or utopia?
Tags: cold fusion reactor, science, Sci-Tech, Commentary, World Boris Pavlishchev, Smirnova Viktoria 28.01.2011, 16:11 Italian physicists Andrea Rossi and Sergio Focardi have invented a cold fusion reactor which fits on a table and requires no unprocurable components. According to the authors, such a device installed at a factory has been warming up water day and night over the last two years, producing 12,400 watts of heat with an input of just 400 watts.The two physicists invited some 50 colleagues and journalists to attend their presentation in Bologna. They demonstrated a medium-sized blue box running on nickel and hydrogen, which, the scientists claim, produce energy not of chemical origin but as a result of a fusion reaction. First of all, heat is not obtained from hydrogen – the gas is not consumed at all. Secondly, the installation emits weak radiation. The third and most important thing is that the reaction produces copper, nickel’s “neighboring” element in Mendeleev’s Periodic Table. The emergence of a new element is a true sign of nuclear fusion. Читать далее Source: Voice of Russia.
แอนเดรีย รอซซี่ (Andrea Rossi) และ เซอร์กิโอ โฟคาร์ดิ (Sergio Focardi) นักฟิสิกข์ชาวอิตาลี แห่งมหาวิทยาลัยโบล๊อกน่า (Bologna University) อ้างว่าได้สร้างเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แบบ ฟิวชั่น (Fusion Reactor) ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนวางไว้บนโต๊ะได้สำเร็จ ซึ่งเตาปฏิกรณ์ดังกล่าวได้ถูกติดตั้งไว้ในโรงงานมานานกว่า 2 ปีแล้ว และสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 12,400 วัตต์
โดยนักฟิสิกข์ 2 คนบอกว่าเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวทำงานโดยใช้เชื้อเพลิง นิกเกิ้ล ไฮโดรเจน (Nickel+ Hydrogen) และบอกว่ามันไม่ใช่ปฏิกริยาเคมีแน่นอน เพราะว่า หนึ่ง ไฮโดรเจนให้พลังงานไม่ได้ สอง เตาปฏิกรณ์ดังกล่าวปล่อยรังสีจำนวนน้อยๆ ออกมา และสาม ซึ่งสำคัญที่สุด เตาปฏิกรณ์ดังกล่าวให้ธาตุทองแดง(copper) ซึ่งเป็นธาตุลำดับถัดไปจากนิกเกิ้ลในตารางฐาตุ ซึ่งมันเป็นเครื่องบ่งบอกว่าเกิดปฏิกริยานิวเคลียร์ภายในเตาปฏิกรณ์ดังกล่าว แต่ว่าทั้งสองคนบอกว่าไม่ทราบและไม่อาจจะอธิบายได้ในทางทฤษฏีว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร แต่บอกว่าพวกเขาได้เตรียมที่จะผลิตออกมาขายในอีก 3 เดือนข้างหน้านี้แล้ว โดยทั้งสองกล่าวว่าให้ตลาดเป็นคนตัดสินเองว่าเตาปฏิกรณ์ฟิวชั่นของพวกเขาของจริงหรือป่าว ดังที่เขากล่าวในแถลงการณ์ว่า “We have passed already the phase to convince somebody. We are arrived to a product that is ready for the market. Our judge is the market. In this field the phase of the competition in the field of theories, hypothesis, conjectures etc etc is over. The competition is in the market. If somebody has a valid technology, he has not to convince people by chattering, he has to make a reactor that work and go to sell it, as we are doing.” ดร.เยฟกินี เวลิคอฟ (Yevgeny Velikhov) จากสถาบันเคอชาตอฟ (Kurchatov) และ Russian Academy of Sciences บอกว่าในทางทฤษฏีแล้ว มีทฤษฏีที่เรียกว่า Muonic Catalysis ซึ่งอนุภาค มิวออน (Muons) เข้าไปแทนที่อิเล็กตรอนในอะตอม แล้เคลื่อนที่เข้าใกล้กันมาก ทำให้มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดปฏิกริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นที่อุณหภูมิใดๆ ปี 1989 นักฟิสิกข์จากอังกฤษ Martin Fleischmann และ Staley Pons เคยทดลองใช้ ตะกั่ว (Tin) และ ดิวเธอเลี่ยม (Deuterium ,ไฮโตรเจนที่มีโปรตอนสองตัว) และแพลลาเดียม (palladium) มาทำปฏิกริยาอิเล็กโตรไลสิส (eletrolysis) ซึ่งตอนนั้นทำให้ตะกั่วมีอุณภูมิสูงขึ้น ซึ่งสันณิษฐานว่าเป็นปรากฏการ Joule Heat Effect แต่ว่าการลองทดสอบจากนั้นวิจััยจากประเทศอื่นๆ ไม่ได้ผล ตอนนี้จึงอาจจะเร็วเกินไปที่จะบอกว่าเตาปฏิกรณ์ฟิวชั่นแห่งอิตาลี เป็นของจริงหรืออำกัน
แต่อย่างว่า นักฟิสิกข์จากอิตาลียังไม่ทันได้การับรองก็เตรียมที่จะสร้างมันออกขายซะแล้ว
http://pesn.com/2011/01/27/9501752_Italian_cold_fusion_saga_continues_with_new_papers_released/http://www.gizmodo.com.au/2011/01/no-italian-scientists-have-not-discovered-cold-fusion/