1812.Napoleon and the Holy See. Part Two
Tags: History, War of 1812, Russia, World 17.12.2010, 12:10 However ironic Napoleon may have been about “religions for all”, he was nonetheless a believer, he believed in what he called “my star”. He once told Cardinal Fesch that he could actually see his star, which was leading the way. That was his personal form of religion. Perhaps, it was a sort of star fever, but how could a man avoid it if in 1790 he was an ordinary Lieutenant, empty as a pocket, but a mere 15 years later he had already conquered almost the whole of Europe and planned to conquer the world. During the years of his triumph, Napoleon got used to taking what his unknown superior patrons gave him, hence his famous “inaction” in the Battle of Borodino and in other battles, for example, the Battle of Waterloo. By then Napoleon had come to realize that everything would work out as predestined, and if he were destined to win, he would get some sort of sign at proper time. But when in Russia in 1812 and afterwards, he seemed to have a run of bad luck, with no one giving him any signs any more. This might have led him to his deathbed in the long run… But let’s get back to relations between Bonaparte and the Holy See. Although Napoleon abolished the “Constitutional” Church, but the Concordat that he signed with the then Head of the Catholic Church Pope Pius VII had largely circumscribed the powers of the Church in France. The Roman Catholic Church did obtain the legal basis for its activities, but had to trade off its lands. Papal legates were not allowed to leave France without official government permission. Pius VII must have eventually got used to the loss of France, but Napoleon wouldn’t content himself with that. – He also confiscated the Church property in Germany, and abolished the institution of Prince-Bishops there. He impoverished German seminaries, Cathedrals and monasteries, and left vacant no end of Bishop’s thrones. Читать далее Source: Voice of Russia.
นโปเลียนมีความเชื่อว่าตัวเขาเห็นสิ่งหนึ่งที่เขาเรียกว่า “my star” ครั้งหนึ่งเขาเคยบอกกับพระคาร์ดินาล เฟสซ์ (Cardinal Fesch) ว่าเขามองเห็นดวงดาวอยู่ด้านหน้า คอยนำทางที่เขาเดินไป นั้นคือรูปแบบศาสนาส่วนตัวของนโปเลียน หรืออาจจะเป็นแค่อาการป่วยจากการคลั่งไคล้รูปดาวของเขาเอง แต่จะทำอย่างไรได้ ในเมื่อใครจะเชื่อว่า ชาวบ้านธรรมดาในลูเทแนนต์ (Lieutenant) อีกเกือบ 15 ปีต่อมาจะสามารถพิชึิตยุโรปเกือบทั้งแผ่นดินมาไว้ได้ และยังปรารถนาที่จะได้โลกใบนี้เป็นกรรมสิทธิ์อีกด้วย ในสมัยที่ชัยชนะอยู่เคียงข้างเขา เขามักกล่าวถึงสิ่งลึกลับซึ่งเขาเองไม่รู้ว่าคืืออะไร ที่เป็นผู้มอบชัยชนะให้กับเขาในการต่อสู้ อย่างที่ โบโรดิโน่ (Borodino) และในสมรภูมิอื่นๆ เช่น ที่วอร์เตอร์ลู (Waterloo) เขาตระหนักว่าถ้าเขาต้องการจะชนะ เขาจะได้รับสัญญาณบางอย่างในเวลาที่เหมาะสม แต่ว่าภายหลังสงครามกับรัสเซียในปี 1812 และหลังจากนั้นมา ดูเหมือนนโปเลียนจะกลายเป็นคนอาภัพโชคชะตา ไม่มีสิ่งใดที่มอบสัญญาณให้กับเขาอีก ซึ่งนั้นอาจะเป็นสัญญาณบอกว่าเขาจะเสียชีวิตในเวลาต่อมาภายภาคหน้า…
กลับไปที่ความสัมพันธ์ระหว่างโบนาปาร์ตกับวาติกัน แม้ว่านโปเลียนจะไม่ให้การรับรองแคธอริกไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ว่าหนังสือที่นโปเลียนได้ทำสัญญาร่วมกับโป๊ป ปิอุส ที่ 7 (Pope Pius VII) นั้น มีส่วนช่วยขยายอิทธิพลของศาสนาคริสต์ไปทั่วฝรั่งเศส โรมันแคธอริกได้รับอนุญาตให้สามารถจัดกิจกรรมทางศาสนาทั่วไปได้อย่างถูกกฏหมาย แต่ว่าที่ดินของโบสถ์ถูกนำออกมาจำหน่าย สันตะปาปาถูกกำหนดว่าไม่สามารถเดินทางออกจากฝรั่งเศสได้หากไม่ได้รับอนุญาตจากทางการก่อน ปิอุส ที่ 7 ต้องเผชิญกับการชดใช้ความเสียหายที่ฝรั่งเศสเสียไป นโปเลียนยึดเอาทรัพย์สินของโบสถ์ในเยอรมัน และยกเลิกวิทยาลัยพรินส์-บิชอฟ (institution of Prince Bishop)เขาทำให้สถาบันกษัตริย์ และแคธอริกยากจนลง แต่ก็ไม่ได้จำกัดเหล่านั้นทิ้งเสียเลย
อย่างไรก็ตาม โป๊ป ปิอุส ที่ 7 เป็นที่น่าสังเกตุยังคงไม่กังวลนัก และต้องการที่จะรักษาสันติไว้แม้จะถูกกระทำจากอีกฝ่ายอย่างหนัก โป๊ปเข้าร่วมพิธีราชาพิเษกของนโปเลียนในพฤศจิกายน 1804 ซึ่งปกติหลายร้อยปีที่ผ่านมาปิชอฟจะเป็นผู้ที่สวมมงกุฏให้กับกษัตริย์แห่งฝรั่งเศส ทว่านโปเลียนกับเลือกที่จะให้สันตะปาปามาเป็นผู้มอบสิทธิพิเศษแต่เพียงผู้เดียวแก่เขา และแม้ว่าสันตะปาปาจะรู้ว่านโปเลียนและภรรยาของเขา โจเซฟิน (Josephine) ไม่ได้แต่งงานกันตามพิธีกรรมในโบสถ์ และมีลูกด้วยกันมาหลายปีแล้ว แต่สันตะปาปาเลือกที่จะไม่ผลักประตูหนีแล้วกลับไปยังโรม มงกุฏจักรพรรดิถูกประคองวางลงบนพระเศียรองค์จักรพรรดินอกศาสนา ถูกขั้นตอนในพิธี ตอกย้ำความให้เห็นความเท่าเทียมกันของนโปเลียนกับมหาเทพที่มาจุติยังพื้นปฐพี นโปเลียนและสันตะปาปา ปรากฏตัวในห้องพร้อมกัน โดยเดินมาจากคนละฝาก สันตะปาปามิได้รับอนุญาตให้สัมผัสกับมงกุฏ แต่นโปเลียนเลือกที่จะหยิบขึ้นมาสวมด้วยตัวเอง
สันติภาพระหว่างนโปเลียนและสันตะปาปา ดูเหมือนจะเปราะปางและพังลงเมื่อไหร่ก็ได้ บางครั้งโป๊ปก็มีส่วนทำให้สถานะการณ์ตรึงเครียด ปี 1807 ปิอุส ที่ 7 ปฏิเสธที่จะไปร่วมพิธีแต่งงานของน้องชายนโปเลียน เจโรม (Jerome Bonaparte) กับ อลิซาเบธ แพทเธอสัน (Elizabeth Patterson) ซึ่งเป็นลูกสาวของพ่อค้าที่มั่งคั่ง ในปี 1808 โป๊ปไม่ยอมปิดท่าเรือของพระองค์สำหรับเรือสินค้าอังกฤษที่จะมาจอด นั้นทำให้นโปเลียนคลั่งและฉีกข้อตกลงระหว่างเขากับวาติกัน เขาประกาศให้วาติกัน ประเทศของโป๊ป เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิฝรั่งเศส แต่กลับปล่อยให้กรุงโรมเป็นเมืองเสรี โป๊ปถูกตัดสิทธิห้ามมิให้มีการตั้งปิชอฟประจำในกรุงโรม วาติกันและรายรับถูกนโปเลียนยึดไว้ทั้งหมด ยกเว้นแต่อำนาจที่ไม่มีตัวตนของโป๊ป ปิอุส ที่ 7 ประณามการยึดวิหารอันเป็นมรดกแห่งเซนต์ปีเตอร์ และรู้สึกว่าต้องรับผิดชอบต่อสิ่งที่เกิดขึ้น นโปเลียนรุกต่อด้วยการสั่งให้จับกุมตัวโป๊ปและเอานำตัวไปที่อาวิญง (Avignon) แต่คำสั่งไม่ได้ทำให้สันตะปาปายอมแพ้ แต่ก็ประณีประณอมขึ้น ในปี 1809 โป๊ปยอมที่จะไปปรากฏตัวในวันครบรองแต่งงานของนโปเลียนกับโจเซฟิน
สันตะปาปายังถูกจับส่งตัวไปยังอีกหลายเมือง ตอนเมื่อถูกส่งตัวไปไว้ที่ซาโวน่า (Savona) ในเขตพรินส์บอกิส (Princ Borghese ) เวลาเดียวกันนั้นเองนโปเลียนก็สั่งให้นายพลมิลลิส (General Miollis) ปฏิบัติตามคำสั่งในการการยึดวาติกันและทรัพย์สินสุดท้ายแล้วสันตะปาปาถูกนำตัวจากอิตาลีมายังฝรั่งเศส ที่เพาวเทนเนบัว (Fontainebleau) นโปเลียนได้ดูแลสันตะปาปาอย่างดี เพื่อให้ยอมละความสนใจจากนครวาติกัน เป็นเวลากว่า 7 ปี
การค้าความระหว่างผู้นำวาติกันกับนโปเลียน ไม่จบลงจนกระทั้งปี 1815 เมื่อนโปเลียนถูกเนรเทศไปยังเกาะเซนต์เฮเลน่า ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ โดยการควบคุมของอังกฤษ สันตะปาปา ปิอุส ที่ 7 วัย 74 ซึ่งแก่กว่านโปเลียน 2 ปี ได้เดินทางกลับไปยังพระราชวัง ควิรินัล (Quirinal) ในโรม และได้แสดงความเมตตาแต่งตั้งแม่ของนโปเลียน แมรี่ เลติเซีย (Marie Letizia) เป็นมาดาม แมรี่ แห่งองค์จักรพรรดิ (Madame Mere de I Empereur) และได้เชิญนางไปยังกรุงโรม