Life does not come with instructions on how to live, but it does come with trees, sunsets, smiles and laughter, so enjoy your day.

ชีวิตไม่ได้มาพร้อมกับคู่มือการใช้ชีวิต

แต่ชีวิตมาพร้อมกับต้นไม้, พระอาทิตย์ตก, รอยยิ้มและเสียงหัวเราะ 

―Debbie Shapiro

Month: March 2022

  • Maidan : Road to WAR – RTD

    Maidan: Road to War was shot from 2014 to 2022, as the DNR and LNR territory was subjected to daily shelling from Ukraine. The film delves into the 2014 situation in Ukraine and pieces together the course of events. The film wants to draw the attention of the Ukrainian authorities to the shelling and the…

  • Donbass : Battle of Debaltsevo

    The film features the events of the Donbass war which took place at Debaltsevo — the important strategic point, which became the center for fierce fighting between the militia and the government forces. In summer 2014, fighting began in Southeast Ukraine, as Ukraine’s armed forces were tasked to subdue the rebellious regions. The conflict, ongoing…

  • Blue Peacock

    บลูพีค๊อค (Blue Peacock) เป็นกับระเบิด (land mind) ชนิดระเบิดนิวเคลียร์​ ที่อังกฤษพัฒนาขึ้นมาในช่วงปี 1950s ในช่วงของสงครามเย็น โดยนำไปวางเอาไว้บริเวณทุ่งราบทางตอนเหนือของเยอรมัน โดยที่กับระเบิดนี้ถูกควบคุมการระเบิด ได้ด้วยการตั้งเวลาล่วงหน้า 8 วัน ,การสั่งผ่านทางสายไฟฟ้าที่ยาว 4.8 กิโลเมตร , และหากมีการเปลี่ยนแปลงของแรงดัน บลูพีค๊อค มีน้ำหนัก 7.2 ตัน โดยดัดแปลงมาจากระเบิดนิวเคลียร์ บลู ดานูบ (Blue Danube) ซึ่งเป็นระเบิดนิวเคลียร์แบบทิ้งลงมาทางอากาศ ประโยชน์ของระเบิดนิวเคลียร์แบบกับระเบิดบลูพีค๊อค คือ นอกจากจะทำลายศัตรูที่รุกล้ำเข้ามาในพื้นที่ได้แล้ว ยังป้องกันไม่ให้พื้นที่ตรงนั้นถูกนำไปใช้งานได้อีกด้วย เครื่องจากกัมตรังสีที่ตกค้างหลังการระเบิด  สถาบันพัฒนาและวิจัยอาวุธแห่งอังกฤษ (Royal Armament Research and Development Establishment, RARDE) ที่อยู่ในเมืองเคนต์ (Kent) เป็นผู้พัฒนาบลูพีค๊อคขึ้นมาในปี 1954  ต่อมาในปี 1957 อังกฤษนำบลูพีค๊อคไปติดตั้งในเยอรมัน โดยอ้างว่าเป็นอุปกรณ์ในการกำเนิดพลังงานไฟฟ้านิวเคลียร์สำหรับกองทัพเพื่อใช้งานภาคสนาม  1958 กุมภาพันธ์, อังกฤษยุติการพัฒนาบลูพีค๊อค เนื่อจากเห็นว่ามีความเสี่ยงด้านความปลอดภัยเนื่องจากไม่สามารถควบคุมกัมมันตรังสีที่ถูกปล่อยออกมาได้…

  • Operation Z

    Спец операция Z (Special Operation Z) 24 กุมภาพันธ์ ประธานาธิบดีวลาดิมีร์สั่งให้เริ่มปฏิบัติการพิเศษ Special Operation (Demilitary and Denazifization) เพื่อสนับสนุน สาธารณรัฐโดเน็ตส์ (Donetsk Republic) และสาธารณรัฐลุกานส์ก (Lugansk Republice) ที่รัสเซียให้การรับรองเอกราช โดยได้ถือเอาพรหมแดนตามรัฐธรรมนูญ หรือแผนที่เดิมเป็นพื้นที่ของรัฐ แต่ว่ามีพื้นที่หลายส่วนกว่าครึ่ง ถูกทหารยูเครนยึดครองอยู่ รัสเซียจึงเริ่มปฏิบัติการณ์พิเศษนี้ขึ้นมา  ซึ่งจากภาพข่าว เราจะเห็นตัวอักษร “Z” นั้นถูกเขียนหรือสลักอยู่บนรถถัง รถหุ้มเกาะ และพาหนะอื่นๆ ของรัสเซียตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งที่เข้าไปปฏิบัติภาระกิจพิเศษนี้ นอกจากนั้นประชาชนในรัสเซียที่สนับสนุนปฏิบัติการณ์ของกองทัพก็จะติดสัญลักษณ์ “Z” ไว้ที่พาหนะ ที่มาของ “Z”   ตัว “Z” นั้นเป็นชื่ออย่างเป็นทางการที่ปรากฏในเอกสารราชการของซึ่งเรียกพื้นที่ทำเหมืองฐานหินบริเวณแอ่งกะทะคุซเนตสก์ (Kutnetsk basin) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของไซเบียเรียว่า คุซบาสส์ (KuZbass, Кузбасс)   ซึ่งปัจจุบันก็เป็นที่ตั้งของเขตเคเมโรโว (Kemerovo Oblast) หรือเรียกว่าเขตคุซบาสส์ (Kuzbass Oblast)…

Don`t copy text!