Life does not come with instructions on how to live, but it does come with trees, sunsets, smiles and laughter, so enjoy your day.

ชีวิตไม่ได้มาพร้อมกับคู่มือการใช้ชีวิต

แต่ชีวิตมาพร้อมกับต้นไม้, พระอาทิตย์ตก, รอยยิ้มและเสียงหัวเราะ 

―Debbie Shapiro

Month: September 2023

  • Hero Wives : RTD

    Hero Wives Women stand by their husbands fighting for Donbass liberation Ordinary Russian women from all corners of the country, volunteer to meet the needs of their husbands who are fighting for the liberation of Donbass. “They can buy things themselves, but what are we supposed to do then? Where’s our patriotism?” says one of…

  • Voice from the Grave : RTD

    Voices from the Grave Mass graves in liberated villages of Donbass reveal Ukrainian war crimes Only 20 out of 56 patients survived in the village of Staraya Krasnyanka, near Kremennaya, Ukraine. Ukrainian soldiers established MG firing positions inside the building, firing from floors and stairways, thus, preventing the safe evacuation of patients. The area around…

  • Thibaw Min

    พระเจ้าทีบอว์ มิน (พระเจ้าสีป่อ, သီပေါ‌မင်း) กษัตริย์พระองค์สุดท้ายของพม่า เจ้าชายทีบอร์ ทรงพระบรมราชสมภพวันที่ 1 มกราคม 1859 ในเมืองมันดาเลย์ , พม่า (Mandalay, Konbaung Burma) ซึ่งมันดาเลย์ขณะนั้นเป็นเมืองหลวง พระบิดาของพระองค์คือ กษัตริย์มินดอน (King Mindon) กับพระมารดาหลวงชี ไมบายา (Laungshe Mibaya) ซึ่งเป็นหนึ่งในสนมของกษัตริย์มินดอน ซึ่งหลังจากหลวงชีให้กำเนิดเจ้าชายทีบอร์ ก็ถูกคำสั่งห้ามมีให้ได้พบกับพระโอรส หลวงชีจึงทรงออกผนวชเป็นธิลาชิน (แม่ชี, Thilashin) จนกระทั้งสิ้นพระชนม์ เจ้าชายทีบอร์นั้นศึกษาพระพุทธศาสนาภายในวัดหลวง (Kyaung) และทรงสอบผ่านพระธรรมเปรียญ (Pahtamabyan) ตามหลักสูตร์ของพม่า ทำใหพระองค์เป็นที่โปรดปราณของกษัตริย์มินดอน  อภิเษกกับ สุพายาลัต (စုဖုရားလတ်, Supayalat) ซึ่งเป็นพี่น้องพ่อเดียวกน เพราะสุพายาลัตเป็นพระธิดาของกษัตริย์มินดอน กับนางสนมอาวุโส ฮสินบุมาชิน (Hsinbyumashin, ဆင်ဖြူမရှင်) ฉายานางช้างเผือก 1866 เจ้าชายไมยินกัน (Prince Myingun) และเจ้าขายไมยินกันดาอิง (Prince…

  • Manimegalai

    มณีเมขลา (ทมิฬ : மணிமேகலை) มณีเมขลา เป็น 1 ใน 5 วรรณกรรมคลาสสิคของทมิฬ รัฐทางใต้ของอินเดียในปัจจุบัน   โดยถูกแต่งขึ้นมา ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 2-6 โดยผู้แต่งคือ จิทาลัย จาทนา (Chithalai Chathanar) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สัทธานาร์ (Satthanar) เนื้อเรื่อง มณีเมขลา นั้นเป็นลูกสาวของ โควาลาน (Kovalan) กับนาง มาทวี (Madhavi) ซึ่งมณีเมขลานั้นเป็นผู้หญิงที่สระสวยและมีรูปร่างดี แต่เมื่อนางเติบโตขึ้นมา นางเลือกที่จะเป้นนักเต้นระบำและออกบวชตามอย่างมารดา โดยมณีเมขลาและสุธามาธี (Sudhamathi) เพื่อนสนิทได้ออกบวชด้วยกัน จนเมื่อเจ้าชายอุดายกุมาร (Udayakumara) แห่งอาณาจักรโจละ (Chola) ได้บังเอิญมาเจอกับมณีเมขลา เจ้าชายก็หลงไหลนางในทันที แต่ว่าในเวลานั้นมณีเมขลาได้ออกบวชเป็นชีอยู่ในวัดนิกายมหายาน นางจึงปฏิเสธความรักของเจ้าชาย และเลือกที่จะปฏิบัติธรรมตามคำสอนของพระอาจารย์ อะราวานะ อดิกาล (Aravana Adikal) กับเหล่าเทวดา ที่มาเป็นอาจารย์สอนเธอ ให้หลุดพ้นจากความกลัว  มณีเมขลาพยายามที่จะหนีเจ้าชายที่ติดตามเธอมา เทวดาองค์หนึ่งจึงได้ช่วยให้มณีเมขลาหายตัวไปยังเกาะไกลโพ้นแห่งหนึ่ง…

  • Mark Nemenman

    มาร์ค เนเมนแมน (Марк Ежимович Неменмана) ผู้สร้างภาษา AKI (AutoCode Engineer,    АвтоКов Инженер) มาร์ค เกิดวันที่ 8 พฤศจิกายน 1936 ในมินส์ก, เบลารุส, สหภาพโซเวียต พ่อของเขาเป็นนักฟิสิกส์ชื่ออิลย่า (Ilya Nemenman)  1958 จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเบลารุส (Belarussian State University) ด้านคณิตศาสตร์ หลังจากนั้นเขาก็ทำงานเป็นอาจารย์สอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้ 1961 ย้ายมาทำงานในตำแหน่งวิศวกรที่ NIIEVM  1964 มาร์คเป็นหัวหน้าทีมในการพัฒนาภาษา AKI (АКИ – АвтоКод ИНЖЕНЕР) ภาษาคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นภาษาที่สร้างขึ้นมาสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ Minsk-32  ในช่วงแรก ก่อนที่เครื่อง Minsk-32 จะรองรับภาษา COBOL, FORTRAN ได้ 1970 ได้รับรางวัล Lenin Komsomol Prize 1975…

  • Mikhail Kartsev

    มิคาอิลคาร์ตเชฟ (Михаил Александрович Карцев) นักวิทยาศาตร์คอมพิวเตอร์ของสหภาพโซเวียต ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์สำหรับการควบคุมยานสำรวจอวกาศ และระบบเตือนภัยจรวดมิสไซด์ คาร์ดเชฟ เกิดวันที่ 10 พฤษภาคม 1923 ในเคียฟ, สหภาพโซเวียต  โดยที่ครอบครัวของเขาพ่อแม่ต่างก็เป็นครู แต่ว่าพอของเขาเสียตั้งแต่เขาเกิดได้ไม่นาน  1941 เขาเรียนจบมัธยมปลายและเป็นช่วงที่เกิดสงครามโลกขึ้นพอดี ทำให้เขาเข้ารับราชการเป็นทหารในกองทัพสหภาพโซเวี่ยต และได้เข้าประจำการณ์ในหน่วยของทหารรถถัง ซึ่งออกไปรบในแนวหน้าของสงคราม บริเวณเขตดอนบาส (Donbass) และในคอเคซัสทางตอนเหนือ เขามีส่วนร่วมในปฏิบัติการณ์รบเพื่อปลดปล่อยโรมาเนีย, ฮังการี, และเชคโกสโลวาเกียจากนาซีเยอรมันด้วย 1945 ได้เป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ 1947 หลังจากปลดประจำการณ์ได้เข้าเรี่ยนต่อที่สถาบันวิศวะกรรมพลังงานมอสโคว์ (the Moscow Power Engineering Institute, MPEI) ในคณะวิศวกรรมวิทยุ 1950 เข้าทำงานพิเศษที่ห้องทดลองของสถาบันพลังงาน, สถาบันวิทยาศาสตร์สหภาพโซเวียต (the Energy Institute of the USSR Academy of Sciences, ENIN) ภายใต้การควบคุมของไอแซ้ค (Isaac Semyonovich Brook)…

  • Cilappatikaram

    ศิลปะติการาม  (Cilappatikaram : The Tale of an Anklet, ทมิฬ : சிலப்பதிகாரம்,) ศิลปะติการาม เป็น 1 ใน 5 วรรณกรรมเก่าแก่ของทมิฬ (Tamil ) ถูกแต่งขึ้นมาเป็นบทกวีความยาว 5,730 บรรทัด โดยตามความเชื่อบอกว่า ไอลันโก้ อติกาล (Ilanko Atikal) นักบวชเชน (Jain Monk) เป็นผู้แต่งขึ้น  โดยไอลันโก้ อติกาล เป็นพระอนุชาของกษัตริย์เชนกุตตุวาน (King Chenkuttuvn) แห่งอาณาจักรเชรา (Chera Kingdom) ที่อยู่ทางใต้ของอินเดีย ดังนั้นศิลปะติการามจึงถูกเชื่อว่าถูกแต่งขึ้นราวปี ค.ศ. 188-243 ซึ่งเป็นรัชสมัยของกษัตริย์เชนกุตตุวาน พล๊อตเรื่อง  มหากาฬของชาวทมิฬ ทางตอนใต้ของอินเดีย ซึ่งเป็นเรื่องราวโศกนาฏกรรมความรักของ  กันนาคี (Kannaki) กับ โควาลัน (Kovalan) สองสามีภรรยาซึ่งเพิ่งจะแต่งงานกัน และใช้ชีวิตอยู่ในเมืองชายทะเล…

  • Notes from Donbass – RTD

    Notes from Donbass War reporter gathers soldiers’ stories whilst delivering aid to Donbass This documentary is a collection of stories gathered by a war correspondent who is dispatching humanitarian aid to the hottest spots in Donbass, while simultaneously jotting down thoughts and dreams of the fighters, as well as civilians he meets on the way.…

  • Julia Pastrana

    จูเรีย พาสตราน่า (Julia Pastrana) ชาวเม็กซิกันพื้นเมือง ซึ่งป่วยเป็นโรคหายาก 2 โรค พร้อมกัน ร่างกายของเธอมีขนปกคลุมมากกว่าปกติ ทางการแพทย์เรียกว่า อาการไฮเปอร์ไตรโคซิส (hypertrichosis)  และยังมีริมฝีปากและเหงือกที่หน้า ซึ่งเป็นอาการของโรค เหงือกอักเสบรุนแรง (gingival hyperplasia)  จูเรียถูกเรียกว่า มนุษย์หมี (the bear woman) หรือ มนุษย์ลิง (the ape woman)  จูเรีย เกิดในเดือนสิงหาคม 1834 ในไซน่าโลอา, ประเทศเม็กซิโก (Sinaloa, Mexico)  โดยจุเรียมีภาวะไอเปอร์ไตรโคซิสมาตั้งแต่เกิด ร่างกายและใบหน้าของเธอมีขนสีดำปกคลุมทั่วร่างกาย ส่วนจมูกและหูมีขนาดที่ใหญ่กว่าปกติ นอกจากนั้นฟันยังไม่เป็นระเบียบเหมือนคนทั่วไป ซึ่งคาดว่าการที่ฟันไม่ปกติ เกิดจากอาการโรคเหงือกอักเสบรุนแรง (gingival hyperplasia) ทำให้ริมฝีปากและเหงือหนา ปูมหลังชีวิตของจูเรียนั้นไม่ชัดเจน เนื่องจากประวัติของเธอว่ามักจะถูกแต่งเติมไปตามการแสดง ครั้งหนึ่งเธอเคยบอกว่าเธอเป็นคนของเผ่าพื้นเมืองที่ชื่อว่า เผ่ารูตดิ๊กเกอร์ (Root Diggers) ซึ่งทุกๆ คนในเผ่าดูเหมือนมนุษย์ลิงและอาศัยอยู่ในถ้ำ  วันนี้คนในเผ่าของเธอจับผู้หญิงคนหนึ่งจากโลกภายนอกชื่อเอสฟิโนซ๋า (Espinosa) เข้ามาขังเอาไว้ภายในถ้ำ…

  • Krao

    เครา ฟารินี (Krao Farini)  เด็กผู้หญิงจากสยาม ซึ่งถูกนำตัวไปยังยุโรปในฐานะ The Missing Link ระหว่างมนุษย์กับวานร ในปี 1881 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า รัชกาลที่ 5  คาร์ล บ๊อก (Karl Bock) นักสำรวจชาวนอร์เวย์ ได้เดินทางเข้ามาเพื่อสำรวจและเก็บตัวอย่างทางธรรมชาติในสยาม เขาเดินทางล่องไปตามแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นไปทางเหนือ จนไปถึงบริเวณเชียงแสน ซึ่งเป้นดินแดนของสยามในเวลานั้น ซึ่งในการเดินทางครั้งนี้นักมานุษยวิทยา ดร.จอร์จ เซลลี่ (Dr. George Shelly) รวมในทีมสำรวจด้วย และเขาเป็นผู้ที่จับตัว เด็กหญิง ที่ชื่อว่า เครา กลับมา โดยเชื่อว่าเครา เป็นมนุษย์วานร ซึ่งเป็นรอยต่อวิวัฒนาการระหว่างที่ลิงกลายมาเป็นมนุษย์หรือ The Missing Link หรือ the Descent of Man ตามหนังสือ The Origin of Spicie ของชาร์ล ดาร์วิน (Charles…

  • Carl Bock

    คาร์ล บ๊อค (Carl Alfred Bock ) นักสำรวจชาวนอร์เวย์ ผู้เขียน Temples and Elephants  บ๊อค เกิดวันที่ 17 กันยายน 1849 เชื้อสายนอร์เวย์ เขาเกิดในโคเปนฮาเก้น, เดนมาร์ก (Copenhagen, Denmark) 1868 ย้ายมาอยู่ในอังกฤษ และเข้าเรียนทางด้านวิทยาศาสตร์  หลังจากเรียนจบเขาเข้าทำงานที่สถานทูตสวีเดน-นอร์เวย์ ในเมืองกริมบี้ (Grimsby)  1875 ย้ายเข้ามาอยู่ในลอนดอน และได้รับการสนับสนุนจากลอร์ออาร์เธอร์ เฮย์ (Lord Arthur Hay) ให้ออกเดินทางไปสำรวจดินแดนในเอเชียตะวันอกเฉียงใต้ ทำให้เขาเอกเดินทางมายังเกาะสุมาตรา (Sumatra) ซึ่งเมื่อมาถึงสุมาตรา เขาได้รับการสนับสนุนจาก นายพลโจฮัน (Johan willem van Lansberge) ผู้ดูแล (governor-general of the Ducth East Indies) ผู้ดูแลอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ในบอร์เนียว และสุมาตราเวลานั้น นายพลโจฮัน ได้สนับสนุนให้บ๊อลเป็นหัวหน้าคณะสำรวจของดัตช์-อินเดีย…

Don`t copy text!