Life does not come with instructions on how to live, but it does come with trees, sunsets, smiles and laughter, so enjoy your day.

ชีวิตไม่ได้มาพร้อมกับคู่มือการใช้ชีวิต

แต่ชีวิตมาพร้อมกับต้นไม้, พระอาทิตย์ตก, รอยยิ้มและเสียงหัวเราะ 

―Debbie Shapiro

  • โยชิฮิโร่ ฟุกุยาม่า (Yoshihiro Francis Fukuyama) ผู้เขียน The End of History and the Last Man  ฟรานซิส เกิดวันที่ 27 ตุลาคม 1952 ในชิคาโก้, อิลลินอยส์ (Chicago, Illinois) บรรพบุรุษของเขาในรุ่นของปู่ อพยพลี้ภัยสงคราม รัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese war 1905) เข้ามาอยู่ในสหรัฐฯ และเปิดร้านขายของชำ ก่อนที่จะถูกสหรัฐฯ จับเข้าค่ายกักกันในช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2  พ่อของฟรานซิส ชื่อโยชิโอะ (Yoshio Fukuyama) เป็นทำงานให้กับ…

  • Dr Donbass: Living on the edge  Medics save lives under shelling What is it like operating during shelling or attending to a patient in a hospital destroyed by Ukrainian forces? Yet, these are the conditions Donbass doctors are forced to…

  • Russophobia: History of Hate Western disdain for Russia explained Russia has been portrayed as a ‘savage and barbaric’ nation, from Ivan the Terrible to Vladimir Putin. But where does the image come from? The documentary explores the creation of the…

  • Dr Donbass: Behind the frontline Heroic routine of Donbass medical units The doctors of Donbass, who work close to the frontline, treat injured soldiers from both sides and civilians who came under the shelling, and they never judge. Some may…

  • Volhynia-43: Genocide for ‘Glory to Ukraine’ Ukrainian nationalist atrocities during World War II ‘The Bandera men killed sixteen people from my family. An old man who lived in the village was killed right on his way to the mill. The…

  • Volhynia-43: Genocide for ‘Glory to Ukraine’ Ukrainian nationalist atrocities during World War II ‘The Bandera men killed sixteen people from my family. An old man who lived in the village was killed right on his way to the mill. The…

  • โอลก้า แห่ง เคียฟ ปีเกิดของโอลก้านั้นไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่คาดว่าเกิดราวปี c.890–925  โดเปลสคอฟ, เคียฟรัสเซีย (Pleskov, Kievan Rus) โดยนางสืบเชื้อสายมาจากชาวไวกิ้ง (Viking)  เมื่ออายุราว 15 ปี โอลก้าได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าชาย อิกอร์ แห่ง เคียฟ (Prince Igor I of Kiev) ซึ่งเป็นพระโอรสของรูริค (Rurik) ชาวไวกิ้ง ผู้ก่อตั้งราชวงศ์รูริค (Rurik dynasdy) ขึ้นในนอฟโกรอด (Novgorod) ซึ่งราชวงศ์รูริคเป็นราชวงค์ปฐมของรัสเซีย  โอลก้าและเจ้าชายอิกอร์มีโอรสหนึ่งองค์ คือเจ้าชาย สเวียโตสลาฟ (Sviatoslav) หลังจากกษัตริย์รูริค สวรรคต…

  • วิกฤต 1819 ถูกเรียกว่าเป็นวิกฤตทางการเงินครั้งแรกของสหรัฐฯ โดยลุกลามไปอย่างช้าๆ ตามแนวรัฐผ้าฝ้าย (Cotton Belt) ซึ่งหมายถึงกลุ่ม รัฐทางใต้ของสหรัฐฯ ซึ่งเศรษฐกิจส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับการปลูกฝ้ายเป็นพืชเศรษฐกิจ  สาเหตุของวิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ เริ่มต้นมาจากสงครามนโปเลียน (Napoleonic, 1803-1815) ในยุโรป   สหรัฐอเมริกาในเวลานั้นยังคงเป็นประเทศเกิดใหม่ ที่มีประชากร 22 ล้าน และเศรษฐกิจก็ขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรมเพื่อการส่งออกเป็นหลัก โดยมีพืชเศรษฐกิจสำคัญนอกจากฝ้ายแล้ว ได้แก่ ยาสูบและข้าวสาลี โดยที่นิวยอร์ค, ฟิลาเดลเฟีย และบอสตัน เป็นเมืองหลักที่เป็นศูนย์กลางในการทำการค้า แต่ว่าระบบการเงินยังอ่อนแอ โดยเงินของสหรัฐฯ ในเวลานั้นอ้างอิงกับโลหะมีค่าสองตัว คือ โดยเหรียญแบบอ้างอิงกับทองคำ และเหรียญที่สองอ้างอิงกับโลหะเงิน โดยเหรียญเงินถูกผลิตมาจากอังกฤษ, โปตุเกส และฝรั่งเศส 1803 อเมริกาซื้อหลุยส์เซียน่า (Louisiana)…

  • The Lugansk People’s Republic living through the Donbass war In 2014, Lugansk didn’t recognise the new nationalist government after the Maidan coup, so the Ukrainian administration responded to protests with brute force. After the coup, the new Ukrainian authorities declared…

  • การขาดดุลแฝด (twin deficits economy) หรือ หนี้ซ้ำซ้อน (double debt)   คือ การที่ประเทศขาดดุลการค้า (trade deficit) รายได้จากการส่งออกน้อยกว่ารายจ่ายของการนำเข้าสินค้า, และรัฐบาลขาดดุลงบประมาณ (budget deficit)  เป็นระยะเวลายาวนาน ทำความสามารถในการผลิตสินค้าและบริการไม่เพียงพอที่จะสร้างรายได้  , การขาดดุลแฝดเป็นสูตรสำเร็จที่ทำให้เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ล่มมาแล้วหลายเคส  ซึ่งในกรณีของศรีลังกา การเมือง นโยบายเศรษฐกิจที่ผิดผลาด ก็เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ประเทศเข้าสู่วิกฤต วิกฤตเศรษฐกิจของศรีลังการะหว่าง 2019-2022 นี้ ผู้คนส่วนมากโยนความผิดไปให้กับการบริหารเศรษฐกิจที่ผิดผลาด การคอร์รัปชั่นของตระกูลราจาปักษา (Rajapaksa) 2015 นายรานิล วิคกรมสิงห์ (Ranil wickremesinghe) ชนะการเลือกตั้งและได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งที่ 2 (ครั้งแรกระหว่างปี…

  • การขาดดุลแฝด (twin deficits economy) หรือ หนี้ซ้ำซ้อน (double debt)   คือ การที่ประเทศขาดดุลการค้า (trade deficit) รายได้จากการส่งออกน้อยกว่ารายจ่ายของการนำเข้าสินค้า, และรัฐบาลขาดดุลงบประมาณ (budget deficit)  เป็นระยะเวลายาวนาน ทำความสามารถในการผลิตสินค้าและบริการไม่เพียงพอที่จะสร้างรายได้  , การขาดดุลแฝดเป็นสูตรสำเร็จที่ทำให้เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ล่มมาแล้วหลายเคส  ซึ่งในกรณีของศรีลังกา การเมือง นโยบายเศรษฐกิจที่ผิดผลาด ก็เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ประเทศเข้าสู่วิกฤต วิกฤตเศรษฐกิจของศรีลังการะหว่าง 2019-2022 นี้ ผู้คนส่วนมากโยนความผิดไปให้กับการบริหารเศรษฐกิจที่ผิดผลาด การคอร์รัปชั่นของตระกูลราจาปักษา (Rajapaksa) 2015 นายรานิล วิคกรมสิงห์ (Ranil wickremesinghe) ชนะการเลือกตั้งและได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งที่ 2 (ครั้งแรกระหว่างปี…

  • วิลเลี่ยม แห่ง รูบรัคก์ (William of Rubruck) นักบวชฟรานซิสกัน ในศตวรรษที่ 13 ซึ่งเขาได้ออกเดินทางไปยังตะวันออกกลางและเอเชียกลาง บันทึกของเขาเป็นข้อมูลสำคัญที่บอกเรื่องราวของมองโกล  วิลเลี่ยม เกิดในเมืองรูบรัคก์ (Rubrouck, Flanders Country) ในแฟลนเดอร์เคาน์ทรี ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศสปัจจุบัน ปี ค.ศ.ที่เขาเกิดไม่แน่ชัดแต่ประมาณว่าอยู่ในช่วงปี 1210-1230 1248 วิลเลี่ยมได้ตามเสด็จพระเจ้าหลุยส์ ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส ไปยังดินแดนปาเลสไตน์ในการทำสงครามครูเสด ครั้งที่ 7 (7th Crusade)   1251 วิลเลี่ยมได้พบกับไฟรเออร์แอนดริว (friar Andrew of Longjumeau) ไฟรเออร์เชื้อสายโดมินิกันซึ่งพระสันตะปาปาส่งไปยังมองโกลมีเป้าหมายเพื่อนำชาวมองโกลมาเข้ารีตเพื่อให้ช่วยรบกับฝ่ายมุสลิม แต่ภาระกิจของไฟรเออร์แอนดริวไม่ประสบผลสำเร็จ…

Cheka Aisya




Search the website

Don`t copy text!